Skoool™.th Industry Leaders Supporting
Maths & Science Education
 
 
Feedback
skoool updates
Check out skoool's latest Science Lessons:


Organisation in Living Things


Organ Systems


Reaction of Metals with Acid


Acid Base Reactions


Rotational Transformations


Bisecting Lines


Magnetic Fields


Calculating Moments

Microsoft
 
  skoool.co.uk :: For Translation
11.8 เคมีเชิงปริมาณ(พื้นฐาน)
 
มวลอะตอมสัมพัทธ์ | มวลสูตรสัมพัทธ์ | ร้อยละขององค์ประกอบของสารประกอบ | การคำนวนมวลของตัวทำปฏิกิริยาหรือผลิตภัณฑ์ที่ได้
การคำนวนจากสูตร | วิธีคำนวนการแยกของเหลวด้วยไฟฟ้า
 

มวลอะตอมสัมพัทธ์

อะตอม ของธาตุที่แตกต่างกันจะมีมวลที่แตกต่างกัน

นักเคมีจำเป็นต้องรู้ว่าสารเคมีจำนวนเท่าใดที่ใช้ในการก่อให้เกิดปฏิกิริยา

อะตอม , อีออนและ โมเลกุลมีขนาดเล็กเกินไปที่จะนับหรือชั่งน้ำหนักได้ดังนั้นมวลเฉลี่ยของอะตอม ที่มีจำนวนมากของธาตุจึงถูกใช้ จำนวนของอะตอมเรียกกันว่า โมล และมวลของโมลเรียกเป็น มวลอะตอมสัมพัทธ์ หรือ , Ar ค่านี้โดยปกติแล้วใน ตารางธาตุ จะถูกเขียนไว้เหนือตัวอักษรของธาตุนั้น ๆ เช่นสำหรับคาร์บอน 426 ค่ามวลอะตอมสัมพัทธ์คือ 12


สำหรับคาร์บอน 12C , มีค่ามวลอะตอมสัมพัทธ์เป็น 12
                   6

ความสัมพัทธ์ของค่ามวลอะตอมของธาตุบางธาตุ

Element

Symbol

Ar

Element

Symbol

Ar

Hydrogen

H

1

Magnesium

Mg

24

Carbon

C

12

Sulphur

S

32

Oxygen

O

16

Copper

Cu

64


 

มวลสูตรสัมพัทธ์

โดยใช้ค่าAr สามารถหามวลสูตรสัมพันธ์ M r ใน โมเลกุล

สูตรของน้ำคือ H2O

โมเลกุลของน้ำจะประกอบไปด้วย อะตอมไฮโดรเจน 2 ตะและอะตอมออกซิเจน 1 ตัว

มวลอะตอมสัมพัทธ์ของน้ำมีค่าเท่ากับ = 1+1+16
               = 18

นี่คือตัวอย่างเพิ่มเติม

Compound

Formula

Number of atoms

Ar of atoms

Mr of compound

Magnesium oxide

MgO

1 Mg
1O

Mg = 24
  O = 16

24 + 16
= 40

Sulphur dioxide

SO2

1 S
2 O

S = 32O
   = 16

32 + 16
= 48

Copper carbonate

CuCO3

1 Cu
1C
3O

Cu = 64C
     = 12O
     = 16

64 + 12 + (3 x 16)
= 124


 

ร้อยละขององค์ประกอบของสารประกอบ

จากสูตรของสารประกอบสามารถหาเปอร์เซ็นต์ของธาตุได้ ถ้ารู้ค่ามวลสัมพัทธ์ของแต่ละธาตุ

สูตรของมีเทนคือ CH4

ค่ามวลสูตรสัมพัทธ์จะมีค่าเท่ากับ 12 + 1 + 1 + 1 + 1 = 16

เปอร์เซ็นต์ของคาร์บอนในมีเทน = มวลของคาร์บอนในมีเทน x 100

                                               มวลทั้งหมด
 

 
=
 
 12 x100  
   
 
 16  
     
 
=
   75%


เปอร์เซ็นต์ของไฮโดรเจนในมีเทน = มวลอของไฮโดรเจนในมีเทน x 100

                                                มวลทั้งหมด
 

=
 4 x 100
    16
     
=
  25%

 
การคำนวนมวลของตัวทำปฏิกิริยาหรือผลิตภัณฑ์ที่ได้

จากสมการที่สมดุลย์ทำให้สามารถคำนวนหาปริมาณของสารเคมีที่เกี่ยวข้องได้

CaCO3(s)

+

2HCl(aq)

—>

CaCl2(aq)

+

CO2(g)

+

H2O(l)

          

Mr:

40+12+(3x16)

(2x1)+(2x35.5)

40+(2x35.5)

12+(2x16)

(2x1)+16

= 100

= 73

= 111

= 44

= 18

มวลของตัวทำปฏิกิริยาต้องเท่ากับมวลของผลิตภัณฑ์ที่ได้

เช่น การคำนวณหามวลคาร์บอนไดออกไซด์ เมื่อใช้แคลเซียมคาร์บอเนต 80 กรัม ทำปฏิกิริยากรดเกลือจำนวนมากกว่า

แคลเซียมคาร์บอเนต 100 กรัมจะผลิตคาร์บอนไดออกไซด์ 44 กรัม

ดังนั้น แคลเซียมคาร์บอเนต 1 กรัมจะผลิตคาร์บอนไดออกไซด์ 44/100 กรัม

แคลเซียมคาร์บอเนต 80 กรัมจะผลิต 80 x

 44 คาร์บอนไดออกไซด์
  100
 
  = 35.2 g


บางครั้ง อาจต้องคำนวนจากก๊าซที่ได้จากปฏิกิริยา
มวลสัมพัทธ์ของก๊าซทุกชนิดจะมีปริมาณ 24 ลิตร ที่ 25 องศาเซลเซียสและ 1 แรงดันของบรรยากาศ
ดังนั้น ในการคำนวนปริมาณของคาร์บอนไดออกไซด์ในปฏิกิริยานี้คือ

CO2 จำนวน 44 กรัม มีปริมาณ 24 ลิตร  
ดังนั้น CO 2 1 กรัมจะมีค่า24 ลิตร
                                 44
 

CO2 35.2 กรัม จะมีปริมาณ   24 x 35.2  
  44  
=
19.2 ลิตร  

 

การคำนวนจากสูตร

สูตรของสารประกอบจะหาได้จากมวลหรือเปอร์เซนต์เฉลี่ยของสารเคมีที่ทำปฏิกิริยาที่รู้

เช่น สูตรของแม็กนีเซียมออกไซด์จะหาได้จากค่าที่ทราบของมวลแม็กนีเซียมที่เผาในเตาและน้ำหนักของแม็กนีเซียมออกไซด์ที่ได้

11.8_calculating_formulae_V2

ตัวอย่างผลที่ได้

มวลเตา+ฝาปิด

= 20.2 g

มวลเตา+ฝาปิด+แม็กนีเซียม

= 22.6 g

มวลเตา+ฝาปิด+แม้กนีเซียมออกไซด์

= 24.2 g



มวลแม็กนีเซียมที่ถูกเผาไหม้

= 22.6 – 20.2 = 2.4 g

มวลของแม็กนีเวียมออกไซด์ที่ได้

= 24.2 – 20.2 = 4.0 g

ดังนั้น มวลของออกซิเจน

= 4.0 – 2.4 = 1.6 g



แม็กนีเซียม 2.4 กรัมรวมกับ ออกซิเจน 1.6 กรัม

จำนวนโมลของธาตุแต่ละชนิดหาได้จาก

จำนวนโมล

=

        มวล        

มวลของ 1 โมล( Ar)



Ar แม็กนีเซียม = 24

A r ออกซิเจน = 16


2.4

แม็กนีเซียมที่มีปฏิกิริยากับ 1.6 ออกซิเจน

24

 

 16


แม็กนีเซียม 0.1 โมลทำปฏิกิริยากับออกซิเจน 0.1 โมล

ดังนั้น สูตรเคมีของแม็กนีเซียมออกไซด์คือ MgO เนื่องจากธาตุแต่ละชนิดใช้จำนวนโมลเท่ากัน

ไฮโดรเจน 1 กรัมทำปฏิกิริยากับกำมะถัน 1.6 กรัม ได้เป็นไฮโดรเจนซัลไฟด์

Ar ไฮโดรเจน = 1

Ar ซัลไฟด์ = 32

1 โมล ไฮรโดรเจนที่มีปฎิกิริยากับ 1.6 โมลของซัลไฟด์

1

      32

ไฮโดรเจน 1 โมลทำปฏิกิริยากับกำมะถัน 0.5 โมล

สูตรเคมีของไฮโดรเจนซัลไฟด์คือ H2S

 

วิธีคำนวนการแยกของเหลวด้วยไฟฟ้า

หากเราทราบครึ่งปฏิกิริยาและมวลของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกของเหลวด้วยไฟฟ้า จะสามารถมวลของสารที่อยู่อีกขั้วหนึ่งได้

เช่น จากครึ่งปฏิกิริยาจากการแยกของเหลวด้วยไฟฟ้าของน้ำเกลือ

2Cl-
- 2e-
—»
Cl2
2H+
- 2e-
—»
H2


หากทราบว่าไฮโดรเจนที่ได้ที 10 กรัม จะสามารถคำนวนหามวลของโซเดียมได้

จำนวนโมล =

       มวล                
 
มวลของ 1 โมล

Arไฮโดรเจน = 1, so Mr H2 = 2

Ar คลอรีน = 35.5, so Mr Cl2 = 71

จำนวน โมลของไฮโดรเจน =
10
= 5
 
2
 

จำนวนโมลของไฮโดรเจนและคลอไรด์จะเกิดขึ้นเท่าๆ กัน

 
5 =
มวลของคลอรีน
 
           71
 
 
มวลของคลอรีน     = 5 x 71
 
   = 355g    


 Copyright © 2005 Intel Corporation Help | Contact us | Feedback | About skoool | About Supporters | Privacy & Security
Print Page Home Industry Leaders Supporting Math & Science Education Intel Print Page Home