Skoool™.th Industry Leaders Supporting
Maths & Science Education
 
 
Feedback
skoool updates
Check out skoool's latest Science Lessons:


Organisation in Living Things


Organ Systems


Reaction of Metals with Acid


Acid Base Reactions


Rotational Transformations


Bisecting Lines


Magnetic Fields


Calculating Moments

Microsoft
 
  skoool.co.uk :: For Translation

12.1 ความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้า

 
การวัดกระแส | วงจรไฟฟ้าและสัญลักษ | กฎของโอห์ม | วงจรอนุกรมและวงจรขนาน
 

การวัดกระแส

ในขณะที่อะตอมเคลื่อนที่ผ่านเซลล์ไฟฟ้าหรือแหล่งกำเนิดไฟฟ้าจะทำให้เกิดพลังงาน

ความแตกต่างของพลังงานในขณะที่อิเลคตรอนเคลื่อนที่เข้าและออกเซลล์ไฟฟ้าจะเรียกว่า ความต่างศักย์ไฟฟ้า หรือ โวลต์

จะมีความต่างศักย์ไฟฟ้าเกิดขึ้นในทุกๆ ส่วนของวงจรไฟฟ้าเนื่องจากมีการถ่ายโอนพลังงานขณะกระแสไหลผ่าน

ยิ่งมีความต่างศักย์ไฟฟ้ามาก ยิ่งมีปริมาณกระแสไหลผ่านมาก

ในส่วนต่างๆ ก็จะมีการต้านทานการไหลของกระแส ยิ่งมีความต้านทานมาก กระแสยิ่งไหลผ่านได้น้อย

ความต้านทานวัดค่าเป็น โอห์ม ( )

ความต่างศักย์ไฟฟ้าจะถูกวัดค่าเป็น โวลต์ (V) โดยใช้ โวลต์มิเตอร์ต่อแบบขนานกับอุปกรณ์

กระแสไฟฟ้า ที่ไหลผ่านวงจรจะวัดค่าเป็น แอมแปร์ (A) วัดได้โดยใช้แอมป์มิเตอร์ ต่อแบบอนุกรมกับอุปกรณ์

 

วงจรไฟฟ้าและสัญลักษณ์

วงจรไฟฟ้าจะถูกวาดโดยใช้สัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 

 

12.1_electrical_symbols
 
แผนผังจะแสดงให้เห็นถึงการไหลผ่านของกระแสไปยังหลอดไฟและความต่างศักย์ไฟฟ้าที่วัดได้ หากแรงดันไฟฟ้ามีการเปลี่ยนแปลง กระแสที่ไหลผ่านหลอดไฟและแรงดันไฟฟ้าก็จะเปลี่ยนแปลงไปตามที่แสดงในกราฟแสดง
กระแส-แรงดันด้านล่าง

ยิ่งกระแสไหลผ่านมาก หลอดจะร้อนมากขึ้น ดังนั้นความต้านทานก็จะเพิ่มมากขึ้น กระแสก็จะไม่ส่งผลต่อความต่างศักย์ไฟฟ้า
12.1_circuit_diagram_V2
12.1_graphs
กฎของโอห์ม

ในตัวต้านทานที่อุณหภูมิคงที่ กระแสจะเป็นปฏิภาคโดยตรงกับแรงดันไฟฟ้า เรียกกันว่า กฎของโอห์ม

 

ความต่างศักย์ไฟฟ้า =

กระแส
x
ความต้านทาน
 
 หรือ

 V =

 I

 

 R

 
 
(volt, V)
(ampere, A)
 

(ohm, )

 

ไดโอด จะอนุญาตให้กระแสไหลผ่านในทิศทางเดียว เนื่องจากจะมีความต้านทานสูงในทิศทางตรงข้าม

ตัวต้านทานแบบไวแสง จะมีความต้านทานลดลงเมื่อมีปริมาณแสงมากขึ้น

ตัวต้านทานแบบไวความร้อน จะมีความต้านทานลดลงเมื่อมีอุณหภูมิสูงขึ้น

 

วงจรอนุกรมและวงจรแบบขนาน

วงจรแบบอนุกรม

วงจรแบบขนาน

See diagram below

See diagram below

•  กระแสเหมือนกันจะไหลผ่านอุปกรณ์แต่ละชนิด

•  ปริมาณกระแสรวมผ่านวงจรจะมีค่าเท่ากับผลรวมของกระแสที่ไหลผ่านแต่ละอุปกรณ์ 

•  ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวมของแหล่งจ่ายไฟจะถูกแบ่งใช้จากอุปกรณ์ ดังนั้น หลอดไฟจะไม่ส่องสว่างมาก ยิ่งมีจำนวนหลอดไฟมากก็จะยิ่งสว่างน้อยลง      

•  ความต่างศักย์เท่ากันจะไหลผ่านอุปกรณ์แต่ละชนิด ดังนั้น หลอดไฟจะสว่างเท่ากัน ไม่ว่าจะต่อมากแค่ไหนก็ตาม     

• หากหลอดใดหลอดหนึ่งดับ ทุกหลอดจะดับไปด้วย 

•  หากมีหลอดไฟหลอดหนึ่งดับ ส่วนที่เหลือจะไม่ดับไปด้วย 

•  ความต้านทานรวมจะมีค่าเท่ากับผลรวมของความต้านทานของอุปกรณ์แต่ละชนิด 

เมื่อเซลล์ไฟฟ้าต่อแบบอนุกรม ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าจะมีค่าเท่ากับผลรวมของทุกเซลล์ไฟฟ้า

12.1_seriesparallelcircuit_V3
 Copyright © 2005 Intel Corporation Help | Contact us | Feedback | About skoool | About Supporters | Privacy & Security
Print Page Home Industry Leaders Supporting Math & Science Education Intel Print Page Home