Skoool™.th Industry Leaders Supporting
Maths & Science Education
 
 
Feedback
skoool updates
Check out skoool's latest Science Lessons:


Organisation in Living Things


Organ Systems


Reaction of Metals with Acid


Acid Base Reactions


Rotational Transformations


Bisecting Lines


Magnetic Fields


Calculating Moments

Microsoft
 
  skoool.co.uk :: For Translation

10.5 การลำเลียงและความสำคัญของน้ำ(พื้นฐาน)

 
การใช้น้ำ | ระบบลำเลียงในพืช | การคายน้ำ | โครงสร้างของใบ
 

การใช้น้ำ

พืชจำเป็นต้องใช้น้ำด้วยหลาย ๆ เหตุผล เพื่อการสังเคราะห์แสง

  • เพื่อการลำเลียงสารเคมีไปในส่วนต่าง ๆ ของพืช
  • พืชรักษาการระเหยของน้ำผ่านใบ
  • เพื่อให้เซลล์มีสภาพปกติ
  • ระบบการลำเลียงภายในพืช

เมื่อน้ำเคลื่องที่ผ่านเข้าไปในเซลล์ของพืชด้วยวิธีการ ออสโมซิส มันจะเพิ่มแรงดันภายในเซลล ์์ซึ่งแรงดันนี้ทำให้เซลล์เกิดการแต่งตึง

ระบบลำเลียงในพืช

น้ำและสารอาหารจะถูกลำเลียงผ่าน 2 กระบวนการในต้นพืช

•  น้ำและสารละลาย ต่าง ๆ จะถูกลำเลียงผ่านท่อไซเลน

น้ำจะถูกดูดซึมผ่านดิน ผ่านรากขนอ่อนโดยวิธีออสโมซิส

น้ำเคลื่อนที่ขึ้นตามกระบวนการระเหยของน้ำไปสู่ยอดของพืชที่เรียกว่ากระบวนการคายน้ำ

•  อาหาร เช่น น้ำตาลที่ถูกผลิตในใบจะถูกลำเลียงขึ้นและลงในต้นพืชผ่านทาง ท่อโฟลเอ็ม สารอาหารที่ถูกใช้ในเซลล์เพื่อการเจริญเติบโตและสารอาหารที่เหลือจะถูกจัดเก็บไว้ในอวัยวะจัดเก็บอาทิเช่น ราก

น้ำเคลื่อนที่ขึ้นและลงผ่านทางท่อไซเลม ( ท่อน้ำ)

สารอาหารถูกลำเลียงผ่านทางท่อโฟลเอ็ม ( ท่ออาหาร)


 

10.15_plant_transportation_V2

การคายน้ำ

การคายน้ำคือการสูญเสียน้ำที่กลายเป็นไอบริเวณพื้นผิวของใบ อัตราของการคายน้ำจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วมาก หากอุณหภูมิร้อน แห้ง และลมพัดแรง

โฟโตมิเตอร์ จะสามารถใช้เพื่อการตรวจสอบอัตราการสูญเสียน้ำที่ยอดพืช

ยอดของพืชจะถูกตัดออกมาและถูกใส่ไปในอุปกรณ์ภายใต้น้ำเพื่อป้องกันการแทรกซึมเข้าของอากาศ

ข้อต่อทั้งหมดจะถูกเชื่อมด้วยวาสลีนเพื่อป้องกันการไหลเวียนของอากาศ

ยิ่งน้ำไหลผ่านหลอดไปได้ไกลเท่าไหร่ในระยะเวลาที่กำหนดให้ก็จะถูกวัดออกมา

ยิ่งขยายไกลความเร็วที่ไหลผ่านไปในท่อก็จะเป็นอัตราเร็วของการคายน้ำ


 

10.15_transpiration
  โครงสร้างของใบ

หน้าที่ของใบก็คือทำหน้าที่สังเคราะห์แสง

พารีเสทเซลล์ ที่อยู่ใกล้ตอนบนของใบจะทำหน้าที่ดูดกลืนแสง

พารีเสทเซลล์จะประกอบไปด้วยคลอโรพลาสจำนวนมาก

น้ำจะถูกลำเลียงผ่านเข้าไปในใบผ่านทางท่อไซเลม

น้ำจะถูกแพร่เข้าไปช่องอากาศที่อยู่ในช่องพารีเสทเซลล์

น้ำบางส่วนจะระเหยกลายเป็นไอจาใบผ่านจากช่องเล็ก ๆ ที่เรียกกันว่า ปากใบ ซึ่งจะพบในบริเวณตอนล่างของผิวใบที่มีอุณหภูมิเย็นมากกว่า

คาร์บอนไดออกไซด์จะถูกเข้าไปในใบผ่านทางปากใบ

ขนาดของปากใบจะถูกควบคุมโดย การ์ดเซลล์

ถ้าพืชมีน้ำพอเพียงกากเซลล์จะมีลักษณะบวมพองและจะเปิดโอกาสให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไหลเข้าไป

แต่หากน้ำในต้นพืชมีกากเซลล์จะมีลักษณะอ่อนนุ่มและยุบตัวลงทำให้ปิดปากใบเพื่อจะให้ลดการสูญเสียน้ำเพื่อป้องกันการเหี่ยวเฉาการสูญเสียน้ำจะถูกป้องกันโดย Waxy cuticle ที่เคลือบอยู่ตามผิวใบซึ่งมีลักษณะกันน้ำ

พืชที่อาศัยอยู่ในพื้นที่แห้งแล้งจะมี Waxy cuticle ที่ค่อนข้างหนา อาทิเช่น กระบองเพ็ชร

10.15_structure_of_leaf_V2
 Copyright © 2005 Intel Corporation Help | Contact us | Feedback | About skoool | About Supporters | Privacy & Security
Print Page Home Industry Leaders Supporting Math & Science Education Intel Print Page Home