 |
 |
 |
 |
 |
|
 |
 |
 |
|
|
|
skoool.co.uk :: For Translation
|
จำนวนตรรกยะ | จำนวนอตรรกยะ
|
จำนวนตรรกยะ
จำนวนที่เขียนในรูปเศษส่วน เรียกว่า จำนวนตรรกยะ
เช่น ¾, ½, 5.33333... , 6, เป็นจำนวนตรรกยะทุกจำนวน
ข้อสังเกต 5.3333… = |
5 |
1 |
(จำนวนตรรกยะ) |
|
|
|
3 |
|
|
จำนวนที่เขียนในรูปจุดทศนิยม หรือทศนิยมซ้ำ เป็นจำนวนตรรกยะ
|
จำนวนอตรรกยะ
จำนวน เป็นจำนวนอตรรกยะ เพราะว่าไม่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วน หรือทศนิยม
(pi) เป็นจำนวนอตรรกยะ เพราะว่าเขียนได้ไม่มีจุดสิ้นสุด และเป็นทศนิยมไม่ซ้ำ
จำนวนที่อยู่ในรูปรากที่สอง และรากที่สามถอดได้ไม่ลงตัว เป็นจำนวนอตรรกยะ
ตัวอย่างที่ 1 จงหาจำนวนอตรรกยะระหว่าง 27 และ 35
|
(27 + )เป็นจำนวนอตรรกยะ
|
ตัวอย่างที่ 2 ถ้านำเอาอตรรกยะยกกำลังสอง จะได้จำนวนตรรกยะ (ใช่หรือไม่)
|
( )2 = 4 |
ถ้าเอาจำนวนที่อยู่ในเครื่องหมายรากยกกำลังสองจะได้จำนวนตรรกยะ |
|
|
|
แต่ ( )2 ยังคงเป็นจำนวนอตรรกยะ |
|
|
|
ดังนั้น ประโยคข้างต้นจึงเป็นเท็จ |
|
|
|
|
|