Skoool™.th Industry Leaders Supporting
Maths & Science Education
 
 
Feedback
skoool updates
Check out skoool's latest Science Lessons:


Organisation in Living Things


Organ Systems


Reaction of Metals with Acid


Acid Base Reactions


Rotational Transformations


Bisecting Lines


Magnetic Fields


Calculating Moments

Microsoft
 
  skoool.co.uk :: For Translation
 
11.13 อัตราของปฏิกิริยา(พื้นฐาน)
การวัดของปฏิกิริยา | องค์ประกอบที่ส่งผลต่ออัตราของปฏิกิริยา | การเปรียบเทียบอัตรา
 
การวัดอัตราของปฏิกิริยา

ปฏิกิริยาที่แตกต่างกันก่อให้เกิดความเร็วที่ต่างกันจะมีความเร็วที่แตกต่างกัน

การเกิดสนิมจะเป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นช้าในขณะที่การระเบิดจะเป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเร็ว

ปฏิกิริยาเคมีสามารถวัดได้โดยการเกิดของผลิตภัณฑ์หรืออัตราการตั้งต้นของสารที่ใช้ไป

เมื่อสารละลายไซโอโซเดียมซัลเฟรตมีปฏิกิริยากับกรดเกลือจะได้ผลิตภัณฑ์คือกำมะถันที่จะมีลักษณะเป็นสีเหลืองสดใสและทำให้สารละลายที่ได้มีลักษณะขุ่น

อัตราของปฏิกิริยานี้สามารถวัดได้โดยระยะเวลาที่ใช้ในการที่กำมะถันก่อตัวดังนั้นการวางกระดาษที่มีกากบาทตรงที่พื้นของขวดแก้วก็จะช่วยปฏิกิริยาจนกระทั่งมองไม่เห็นกากบาทนั้น

rates_reaction

วิธีการนี้จะวัดที่จุดสิ้นสุดของปฏิกิริยา ถ้าปฏิกิริยาจะก่อให้เกิดแก๊สปริมาณของผลผลิตจะถูกวัดโดยระยะเวลาที่เกิดในหลอดทดลองดังนั้นกระบวนการที่เกิดขึ้นจึงสามารถถูกติดตามได้

แผนภูมิแสดงให้เห็นผลที่สามาถพอร์ดเป็นกราฟได้

ตัวอย่าง แมกนีเซียม+กรดเกลือ  arrow2  แมกนีเซียมครอไรด์+ไฮโดรเจน

rates_reaction_3    11.13_graph1

อัตราที่เกิดขึ้นจะเร็วในเบื้องต้นเนื่องจากมีส่วนที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาเหลืออยู่มาก

อัตราที่เกิดขึ้นในนาทีแรกคือ 14 ลูกบาศก์เซนติเมตร/นาที ปฏิกิริยายิ่งรวดเร็ว กราฟยิ่งรวดเร็วมาก

เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดลงกราฟก็จะเป็นแนวราบไม่มีก๊าซถูกผลิตขึ้นอีกเนื่องจากสารตั้งต้นถูกใช้หมด

รูปแบบเดียวกันนี้ใช้ในการวัดการสุญเสียของมวลของแก๊สที่หลุดออกไปในท่อในเวลาที่ใช้กราฟของมวลที่หายไปก็จะถูกพอร์ดขึ้นมา

 

องค์ประกอบที่ส่งผลต่อปฏิกิริยา

เพื่อให้เกิดปฏิกิริยาเคมีวัตถุจะต้อง

  • มีการเกิดปฏิกิริยาระหว่างกัน
  • มีพลังงานพอเพียงที่จะก่อให้เกิดปฏิกิริยา

จำนวนของพลังงานน้อยที่สุดที่จะใช้เราเรียกกันว่าพลังงานกระตุ้น

อัตราจะขึ้นอยู่กับปริมาณของการปะทะกันในระยะเวลาที่กำหนดให้อัตราจะขึ้นอยู่กับการชนชนกันในระยะเวลาที่กำหนดให้

อัตราของปฏิกิริยาเคมีจะเพิ่มขึ้น

  • อุณหภูมิ เพิ่มขึ้นอัตราการเพิ่มของอุณหภูมิจะช่วยเพิ่มความเร็วของวัตถุจะส่งผลให้ชนกันถี่มากขึ้นนอกจากนี้ยังมีพลังงานเพิ่มขึ้นมากทำให้การชนนั้นประสบผลสำเร็จ
  • ความหนาแน่น ของสารตั้งต้นหรือแรงดันของแก๊สเพิ่มขึ้นหากมีวัตถุเป็นจำนวนมากดังนั้นจึงสามารถที่จะชนกันสูงมาก
  • สารตั้งต้น ที่เป็นของแข็งที่ถูย่อยให้มีขนาดเล็กลงเพื่อจะช่วยเพิ่มพื้นที่ผิวจึงมีพื้นที่ที่จุถูกชนกันได้มากขึ้น
  • ตัวเร่งปฏิกิริยาถูกใช้ ตัวเร่งปฏิกิริยาเป็นสารที่จะช่วยเร่งปฏิกิริยาที่จะทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมีแต่จะไม่ใช้ในระหว่างการเกิดปฏิกิริยาสามารถใช้ได้ซ้ำแล้วซ้ำอีกปฏิกิริยาที่แตกต่างกันต้องการตัวเร่งปฏิกิริยาที่แตกต่างกัน

การเพิ่มอัตราปฏิกิริยาเคมีเป็นสิ่งสำคัญในอุตสาหกรรมเนื่องจากจะช่วยลดต้นทุน

เหล็กร้อนเป็นตัวช่วยในการเร่งปฏิกิริยาเมื่อโพรซิทเพื่อผลิตแอมโมเนีย

แพคทินัมร้อนเป็นตัวช่วยปฏิกิริยาที่ช่วยเพิ่มความร้อนกรดในตริก

 

การเปรียบเทียบอัตรา

กราฟต่อไปนี้จะช่วยแสดงผลที่ได้จากการทดลองเพื่อทดสอบดูถึงประสิทธิภาพที่มีต่อพื้นที่ผิวของอัตราการเกิดปฏิกิริยา

แคลเซียมคาร์บอเนตที่มีชิ้นขนาดใหญ่จะถูกทำให้มีปฏิกิริยากับกรดเกลือและจากการสูญเสียมวลบางส่วนไปจะถูกวัดในทุก ๆ นาทีเพื่อเทียบกับคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้น

แคลเซียมคาร์บอเนต+กรดเกลือ  arrow2    แคลเซียมครอไรด์   +   คาร์บอนไดออกไซด ์+ น้ำ

ปฏิกิริยาจะถูกทำซ้ำอีกครั้งนึงโดยใช้ปริมาณเท่าเดิมแคลเซียมของกรดของชิ้นหินอ่อน สิ่งแตกต่างที่เกิดขึ้นก็คือเมื่อชิ้นหินอ่อนมีขนาดเล็กลงดังนั้นขนาดพื้นที่ผิวจะมีมากขึ้น

rates_rxn4

ชิ้นหินอ่อนที่มีขนาดเล็กจะมีปฏิกิริยาเกิดขึ้นที่เร็วกว่าดังที่ปรากฏในกราฟที่สูงชันกว่า

ปฏิกิริยานั้นจบลงเร็วมากว่าชิ้นที่มีขนาดใหญ่

ปฏิกิริยาทั้งสองมีการสูญเสียมวลในขณะที่เท่ากันคือคาร์บอนไดออกไซด์ 2 กรัมดังนั้นก็จะให้ผลเท่า ๆ กันนี่เนื่องจากปริมาณของสารตั้งต้นนี้ใช้เท่ากัน

 Copyright © 2005 Intel Corporation Help | Contact us | Feedback | About skoool | About Supporters | Privacy & Security
Print Page Home Industry Leaders Supporting Math & Science Education Intel Print Page Home